วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7 วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7
วันอังคาร ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2559

ไม่มีการเรียนการสอนเพราะเป็นสัปดาห์สอบ


วันพุธที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 6 วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559


การบันทึกครั้งที่ 6วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559



เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ
     - ก่อนจะเริ่มเรียน อาจารย์ให้นักศึกษาฝึกคัดลายมือเพื่อให้นักศึกษาเกิดความเคยชิน เพื่อจะนำไปใช้ในอนาคตต่อไป






- นำเสนอของเล่นสิ่งประดิษฐ์


  1. ว่าว
  2. แตร๋
  3. รถลูกโปร่ง
  4. ปี๋หลอด
  5. หลอดเลี้ยงลูกบอล  
  6. เครื่องดูดจอมกวน
  7. ไก่กระต๊าก
  8. พายุโทนะโด
  9. เหวี่ยงมหาสนุก
  10. ทะเลในขวดน้ำ
  11. รถของเล่น
  12. รถแม่เหล็ก
  13. ที่ยิงบอลไม้ไอติม
  14. ร่มชูชีพ
  15. ลูกข่าง
  16. กระดานลูกแก้ว
  17. ธนูจากไม้ไอติม
  18. ตุ๊กตาล้มลุก
  19. ปลาว่ายน้ำ
  20. วงล้อหลากสี
  21. แว่นสามมิติ
  22. นักดำน้ำจากหลอดกาแฟ



   - กิจกรรมต่อมาอาจารย์แจกกระดาษให้คนละ 1 แผ่น แล้วทาบลงมือที่กระดาษ วาดรูปมือตัวเอง และก็ใช้ปากกาเมจิกวาดเส้นโคร้งตามรูปมือตัวเองสับสีกัน ภาพก็จะออกมาเป็นแบบนี้







- การทดลองวิทยาศาสตร์เรื่องการไหลเวียนของน้ำที่ไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ













- อาจารย์ให้พับกระดาษเป็นสี่เหลี่ยมแล้วตัดเป็นรูปดอกไม้แล้วนำไปลอยน้ำแล้วสังเกตดูดอกไม้ของตัวเองจะเกิดปฏิกิริยาอย่างไรบ้าง
สาเหตุ เกิดจากน้ำเข้าไปแทรกตามช่องว่างของกระดาษทำให้กระดาษออ่นตัวจึงเกิดการคลี่ตัวออก







- กิจกรรมต่อ เพื่อนนำเสนองานประดิษฐ์เป็นกลุ่ม

กลุ่มที่ 1 กล่องพิศวง



กลุ่มที่ 2  กล้องเพอริสโคป


กลุ่มที่ 3 กล้องสะท้อน


กลุ่มที่ 4 ตกสัตว์ทะเล


กลุ่มที่ 5 ไฟฉายหลากสี


กลุ่มที่ 6 ลูกกลิ้งหกคเมน



การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
- แต่งกายเรียบร้อย น้ำเสียงในการพูดเสียงดังฟังชัด



วันพุธที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 5 วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 5
วันอังคารที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2559

เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ

    - ก่อนจะเริ่มเรียน อาจารย์ให้นักศึกษาฝึกคัดลายมือเพื่อให้นักศึกษาเกิดความเคยชิน เพื่อจะนำไปใช้ในอนาคตต่อไป




  - ต่อมาอาจารย์ให้นักศึกษาดูของเล่นของรุ่นพี่ เพื่อเป็นไอเดียในการสร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่




เรียนเนื้อหาเรื่อง " กรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย "



     - จากนั้นอาจารย์ก็ให้ออกไปมองที่กระจกว่าเห็นรูปเป็นแบบ และยิ่งเราทำกระจกให้เล็กลงยิ่งจะเห็นภาพเยอะมากขึ้น อย่างที่เห็นในภาพนี่เลยค่ะ








          - ต่อไปจะเป็นภาพสองหน้า คือแบบไหน ไปดูกะค่ะ





               - และจะเป็นภาพหมุน ยิ่งถ้าหมุนเร็วเราจะเห็นภาพเป็นอีกแบบ






การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
- แต่งกายเรียบร้อย น้ำเสียงในการพูดเสียงดังฟังชัด 

วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 4 วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

*ไม่ได้มาเรียน (นำเนื้อหามาจากบล็อกของนางสาว ศิริพร   บุญประคม)


การบันทึกครั้งที่ 4
วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

เนื้อหา และ ความรู้ที่ได้รับ

  • อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนไปที่อาคารห้องสมุด เพื่อที่จะไปดูภาพยนต์ที่อาจารย์จัดเตรียมให้
  • อาจารย์ให้นักศึกษาดูวิดีโอ เรื่อง อากาศมหัศจรรย์ ที่ชั้น8 ห้องเธียร์เตอร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

   - ลมก็คืออากาศที่เคลื่อนที่ รอบๆตัวเรามีสิ่งที่เรียกว่าอากาศ เช่น มนุษย์ สัตว์ พืช ก็ยังต้องใช้อากาศหายใจ และอากาศสามารถอยู่ได้ทุกที่ ถึงมองไม่เห็นแต่ก็มีตัวตน   ถึงอากาศจะไม่มีรูปร่างแต่อากาศก็สามารถแทรกอยู่ได้ทุกที่เลย อย่างเช่น


วิธีการทดลองต่อไป




- อากาศมีพลังมากมาย แม้หนังสือกองโตๆเรายังใช้แรงดันอากาศยกขึ้นมาได้เลย
  • จากการทดลองเรื่องแรงดันอากาศ โดยใช้อากาศจากปอดยกกองหนังสือ


อากาศร้อนจะพยายามเข้าแทรกแทนที่อากาศเพื่อปรับสมดุลกัน
  •     จากนั้นเพื่อนก็แจกกระดาษให้คนละ 1 แผ่น ให้ไปคัดลายมือ พยัญชนะไทย มาส่งสัปดาห์หน้า


  •    เมื่อออกมาจากห้องสมุด อาจารย์ก็เรียกนักศึกษารวมตัวกันที่ใต้ตึกนวัตกรรม


                                     

  • จากนั้นให้นำของเล่นที่ทุกคนทำออกมานำเสนอ บอกชื่อและวิธีการเล่น พร้อมบอกว่าเกี่ยวยังไงกับวิทยาศาสตร์

  • จากนั้นก็ให้ไปชมนิทรรศการที่รุ่นพี่ปี 5 จัด







การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
- แต่งกายเรียบร้อย น้ำเสียงในการพูดเสียงดังฟังชัด