วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 3 วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 3 วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ( ไม่ได้เรียนแต่อาจารย์ให้สรุปเนื้อหา )
เรียนเวลา 8.30 - 12.30 น.


เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ

   กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้

 - วันนี้อาจารย์ ให้คัดลายมือ ตอนต้นคาบเรียน


- จากนั้นอาจารย์ก็ให้เข้าเนื้อหาการเรียนการสอน ในสัปดาห์ที่แล้วอาจารย์ได้ให้นักศึกษาสรุป เพื่อช่วยกันตอบคำถาม 



- พอเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนแล้วอาจารย์ก็ให้จับกลุ่มกลุ่มละ 5 คน เพื่อทำกิจกรรม




- พอแต่ละกลุ่มทำได้ในรูปแบบที่กลุ่มตัวเองคิดแล้ว ก็ให้ออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน


กลุ่มแรก  ก็จะเป็นของ อรณัฐ สร้างสกุล  กลุ่มนี่เขาระดมความคิดกันเพื่อจะเลือกออกมาหรือผลงานของเค้าออกมาก็คือ กลุ่มนี่ทำ การพับ รถจากกระดาษ โดยการก็คือ
- รถคันแรกเพื่อนจะใช้แรงเป่า รถก็จะเคลื่อนที่ไปตามแรงแต่ทิศทางยังไม่เป็นไรตามที่กำหนด
- เพื่อนก็เอารถคันเดิม แต่จะเพิ่มคลิปหนับไว้ข้างหน้าของรถ และวใช้แรงเป่า รถก็สามารถไปตามทิศทางที่เพื่อนกำหนด


กลุ่มที่ 2 ระดมความคิดว่าจากเพื่อนเพื่อนก็เห็นกันเลยเอาเป็น
- ก็จะนำกระดาษ กับคลิป มาปล่อยลงพร้อมกัน จะสังเกตว่าสิ่งไหนถึงพื้นก่อน
- จะเห็นได้ชัดว่า คลิปจะถึงพื้นก่อน เพราะว่าคลิปจะไม่มีพื้นที่ในการให้อากาศสามารถเคลื่อนที่ผ่านได้ ต่างจากกระดาษที่มีแผ่นบางและกว้างสามารถให้อากาศเคลื่อนที่ผ่านได้ ทำให้อากาศพยุงกระดาษจึงทำให้กระดาษถึงพื้นช้ากว่าคลิป


กลุ่มที่ 3 จะเป็นกลุ่มของ วิจิตรา เสริมกลิ่น กลุ่มนี่เขาระดมความคิดกันเพื่อจะเลือกออกมาหรือผลงานของเค้าออกมาก็คือ กลุ่มนี่ทำ กระดาษแบ่งพื้นที่เป็นสี่ส่วน
- เค้าก็วาดภาพฤดูต่างๆลง เพื่อที่จะให้เด็กเรียนรู้ ฤดูกาล ให้เด็กดูถึงอากาศ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ แต่อาจารย์ให้ไปทำใหม่ อาจารย์ว่ามันไม่เกี่ยวข้องกัน


กลุ่มที่ 4 จะเป็นกลุ่มของ ธนพร  กลุ่มนี่เขาระดมความคิดกันเพื่อจะเลือกออกมาหรือผลงานของเค้าออกมาก็คือ กลุ่มนี่ทำ ลูกยางกระดาษ ทุกคนจะเห็นได้ชัดเจนเลยว่า ลูกยางกระดาษที่เพื่อทำ เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ที่ทำให้ลูกยางกระดาษ ยังหมุนตกถึงพื้นช้านั้น ก็เพราะว่า กระดาษยังมี อากาศที่เคลื่อนที่ ช่วยพยุงไว้เลยทำให้ตกถึงพื้นช้า



ทักษะที่ได้รับ
- การคิดวิเคราะห์

การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์

- แต่งกายเรียบร้อย น้ำเสียงในการพูดเสียงดังฟังชัด 

การบันทึกครั้งที่ 2 วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

 การบันทึกครั้งที่ 2 

วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ( ไม่ได้เรียนแต่อาจารย์ให้สรุปเนื้อหา )เรียนเวลา 8.30 - 12.30 น.



เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ

   กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้

สรุปเนื้อหา รูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย



วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ดิฉันได้ไปงาน วันวิทยาศาสตร์มาค่ะ


รูปภาพ














ทักษะที่ได้รับ
- การคิดวิเคราะห์

การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์

           

วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 1 วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559




Record1  9 August  2016  (Make-up class)


เนื้อหาการเรียนการสอน(Knowledge)

  • วันนี้เป็นการเรียนการสอนครั้งแรกของการเปิดเทอมโดยอาจารย์ได้ให้เนื้อหาในการเรียนการสอนในรายวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยและอาจารย์ได้บอกถึงวิธีการสร้าง BLOG ว่าต้องมีรายละเอียดดังนี้
  • -ชื่อวิชา
  • -คำอธิบายรายวิชา
  • -ประวัติของตนเอง
  • -หน่วยงานสนับสนุน
  • -มคอ.3
  • -งานวิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  • -บทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  • --สื่อการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย( เพลง เกม นิทาน ของเล่น)
  • -ความรู้ที่ได้เรียนประจำวัน
  • -การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้
  • -การประเมิน (ตนเอง เพื่อนร่วมชั้น อาจารย์ผู้สอน
  • -ในการจัดทำBLOG ครั้งนี้ต้องใช้ภาษาอังกฤษเข้ามามีส่วนร่วมด้วย


ทักษะที่ใช้ในการเรียนรู้(SKILL)

  • -ทักษะการฟัง
  • -ทักษะการสรุปจากข้อมูล
  • -ทักษะการใช้เทคโนโลยี


เทคนิคการสอนของอาจารย์(Technique teaching )

  • -การพูดที่ไม่ใช่ภาษาทางการทำให้นักศึกษาเข้าใจได้ง่ายขึ้น


การนำไปประยุกต์ ใช้(Adoption)

  • -สามารถนำการสอนของอาจารย์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  • -สามารถใช้ภาษาอย่างถูกต้อง




การประเมิน(Assessment)

-ประเมินตนเอง แต่งายถูกระเบียบเข้าเรียนรงเวลาตั้งใจเรียน
-ประเมินเพื่อน แต่งกายถูกระเบียบตั้งใจฟังอาจารย์
-ประเมินอาจารย์ อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีวิธีการสอนที่ทำให้นักศึกษษเข้าใจได้ง่าย








วันอังคารที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559

สรุปวิจัย





สรุป วิจัย


ชื่อวิจัย การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทไดีÉ ้ รับการจัด ประสบการณ์ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 E

ปริญญานิพนธ์
ของ
 นางสาวกนกวรรณ พิทยะภัทร

ความมุ่งหมายของการวิจัย

        ในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีต่อทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยแยกเป็นจุดมุ่งหมายเฉพาะดังนี้
        1.เพื่อศึกษาผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการ
จัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
        2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการ
เรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย ก่อนทดลองและหลังทดลอง

ความสำคัญของการศึกษาค้นคว้า
     
ผู้วิจัยจึงสนใจที่ศึกษาวิธีการพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ระดับปฐมวัย โดยการจดประสบการณ์ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E มาจัดให้แก่เด็กปฐมวัยเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาให้มีคุณภาพต่อไปและศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวยที่ปรากฏในเป้าหมายการศึกษาวิทยาศาสตร์และมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาและ เป็นคุณลักษณะทางด้านจิตพิสัยที่สําคัญเปรียบเหมือนแหล่งพลังกระตุ้นให้ผู้เรียนสืบเสาะหาความรู้จนเป็นผู้ที่รู้เรื่องทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Scientific and Technological Literacy) ซึ่งเป็นเป้าหมายทางการศึกษาวิทยาศาสตร ์และทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้อยางสนุกสนานมีความสุขต่อการทํากิจกรรมได้ศึกษาและลงมอปฏิบัติสืบเสาะแสวงหาความรู้ก่อให้เกิดทักษะการคิดแก้ปัญหา
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
     1. ประชากร
 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้แก่เด็กปฐมวยชาย– หญิงอายระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่2 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2556 ของโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายลาด ใหญ่จํานวน 10 โรงเรียน สํานกงานเขตพี้นทื่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม จํานวน 200คน
ตัวแปรที่ศึกษา
       1. ตัวแปรจัดกระทำ ได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E
       2. ตัวแปรตาม 
            2.1 แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย
            2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมตามคุณลักษณะของจิตวิทยาศาสตร์
            2.3 การสร้างและหาคุณภาพเคร ืÉ องมือท ีÉใช้ในการวิจัย
            2.4 แผนการจัดประสบการณ์ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E จํานวน 8 หน่วย






        
ตัวอย่างแผนการจัดประสบการณ์ด้วย การสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้

จุดประสงค์
   
 1. เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวยชั้นอนุบาลปีที่2 หลังการจัดประสบการณ์ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E 
2. เพิ่อศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยชั้นอนุบาลปีที่2 หลังได้รับการจัดประสบการณ์ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E


   
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัย
  

   1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นนี้ครูสร้างความสนใจโดยใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น เล่านิทาน ภาพประกอบ ของจาลองและของจริง ประสบการณ์เดิม การใช้คําถามซักถามปัญหาที่ต้องการรู้เพื่อมากระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจ อยากรู้อยากเห็น อยากคิดแกปั้ ญหา โดยการสืบ เสาะหาคาตอบด้วยตนเองหรือร่วมกบเพื่อน โดยครูใช้คําถามปลายเปิดถามเด็ก 
 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) ขั้นนี้ครูจัดประสบการณ์ให้เด็กปฐมวยได้ค้นหา คําตอบจากที่ สงสัยและหาวิธีการแกปัญหาโดยใช้วิธีการที่หลากหลายเช่น สํารวจ สังเกต จากแหล่ง การเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เชิญวิทยากรให้ความรู้ทํากิจกรรมการทดลองเน้นการ ลงมือปฏิบัติและใหกระบวนการคิดครูคอยทาหน้าที่อํานวยความสะดวก ส่งเสริม กระตุ้นให้ฝึกคิด สังเกต
 3. ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (Explaination)ขั้นนี้ครูกระตุ้นและเปิดโอกาสให้เด็กปฐมวัย ไดแสดงความค ้ ิดที่ได้ค้นพบโดยใช้ข้อมูลจากการทดลองและประสบการณ์เดิมมาอภิปราย ร่วมกนั เพื่อหาข้อสุป และหาแนวทางการคิดแกปัญหา 
4.ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) ขั้นนี้ครูเปิดโอกาสใหเด็กปฐมวัยนั าสิ่งที่ได้จากการสำรวจสังเกต จากแหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เชิญวิทยากรให้ความรู้ การเล่านิทาน การสนทนาซักถาม ไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมที่ เรียนมาแล้วเพื่อให้เด็กไดอธิบายวิธีการในการ แกปัญหาสถานการณ์อื่น ๆ ต่อไป
 5. ขั้นประเมินผล (Evaluation) ขั้นนี้ครูประเมินองคความรู้ของเด็กตามสภาพจริง ดูจาก ผลงาน สังเกตพฤติกรรมขณะร่วมกิจกรรม และการตอบคาถามเพื่อให้ทราบว่าเด็กมีความรู้อะไร อยางไร











สรุปบทความ

สรุปบทความ


 “หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัยมีความจำเป็นหรือไม่” 

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย เป็นการส่งเสริมครูปฐมวัยให้สามารถจัดประสบการณ์ในรูปของกิจกรรมบูรณาการที่สามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยได้อย่างครบถ้วนทุกด้าน โดยไม่จำเป็นต้อง แยกออกมาสอนเป็นวิชาวิทยาศาสตร์  เพียงแต่ครูปฐมวัยควรจะตระหนักรู้ว่ากิจกรรมที่จัดให้กับเด็กในแต่ละช่วงเวลานั้น เป็นการส่งเสริมทักษะและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อะไรให้กับเด็กๆ และควรจะจัดกิจกรรมอย่างไรเพื่อจะสามารถตอบสนองและต่อยอดธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเป็นระบบ 

“การเรียนวิทยาศาสตร์ในชั้นปฐมวัยนั้น    ไม่ได้มุ่งเน้นให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหา  แต่มุ่งเน้นให้เด็กเรียนรู้เรื่องกระบวนการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์  ซึ่งประกอบไปด้วยการสังเกตสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว การตั้งคำถาม การหาวิธีที่จะตอบคำถาม โดยใช้ทักษะการสังเกตตามวัยของเด็ก  เมื่อเด็กได้พัฒนาทักษะในการสืบเสาะหาความรู้อย่างง่าย ๆ ตามวัยของเขา ก็จะทำให้เขามีเครื่องมือสำคัญที่จะแก้ปัญหาในอนาคตของตัวเองได้ เพราะเด็กจะเรียนรู้การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุมีผล และได้พัฒนาทักษะในการสังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล สามารถที่จะเรียนรู้จากสิ่งรอบ ๆ ตัวได้ ถือว่าเป็นพื้นฐานสำหรับชีวิตของเด็ก ๆ ในการเรียนรู้ต่อไป”

  
      ผลจากการติดตามการทดลองใช้ พบว่าครูสามารถที่จะนำกรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย ไปจัดกิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ในทุกสาระที่ควรรู้ได้ในทุกสาระโดยสอดแทรกเข้าไปในทุกกิจกรรมหลักที่ครูจัดอย่างสม่ำเสมอได้ แต่สิ่งที่ครูยังมีความต้องการนั้น ครูยังต้องการตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เยอะ ๆ ซึ่ง สสวท. กำลังพัฒนาส่วนนี้อยู่
          “เราได้ทดลองแล้ว พบว่ากรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัยนั้นตอบโจทย์ครูได้ว่า ในการสอนบูรณาการวิทยาศาสตร์ ครูจะสอนอะไร จะสอนแค่ไหน จะสอนอย่างไร และจะใช้สื่อรอบ ๆ ตัวเด็กนั้นมาเป็นสื่อในการเรียนรู้อย่างไร เพราะฉะนั้นคุณครูมีแนวทางสามารถที่จะจัดการเรียนรู้บูรณาการวิทยาศาสตร์ปฐมวัยได้แน่นอน”